ตัววิ่ง

ยินดีต้องรับสู่เว็บบล็อคของ นางสาว ศุภนิดา ธรรมสวัสดิ์ ได้เลยค่ะ (◡‿◡✿)

วันพุธที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บทที่ 7

กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน
1.             กฎหมายแพ่ง เป็นกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องบุคคล ทรัพย์สิน นิติกรรม สัญญา ละเมิด ครอบครัว และ
มรดก ที่มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย
2.             กฎหมายอาญา เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับความผิดและโทษ โดยกำหนดผู้กระทำผิดจะได้รับโทษตามที่
กฎหมายกำหนด กฎหมายอาญาจึงมีความสำคัญช่วยให้ประชาชนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและปลอดภัย
3.             กฎหมายเกี่ยวกับบุคคล บุคคล หมายถึง สิ่งที่กฎหมายกำหนดให้มีสิทธิหน้าที่ได้ตามกฎหมาย

สภาพบุคคลเริ่มต้นตั้งแต่แรกคลอดเป็น ทารกและสิ้นสุดสภาพบุคคลเมื่อตายหรือสาบสูญ อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 6

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเป็นกฎหมายลำดับศักดิ์สูงสุดแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายอื่นใดจะขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญไม่ได้ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองของประเทศ ซึ่งตั้งแต่ พ.ศ. 2475ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแล้วทั้งสิ้น 19 บับ อันแสดงใ อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 5

ระบอบการเมืองการปกครอง
ลักษณะการเมืองการปกครอง

ระบอบประชาธิปไตย คือ ระบอบการปกครองตนเองของประชาชน โดยผ่านการเลือกสมาชิกผู้แทนราษฎรไปบริหารและดูแลเรื่องกฎหมาย เพื่อผลประโยชน์ของประชาชนส่วนใหญ่และโดยการตร อ่านเพิ่มเติม
                                                                         

บทที่ 4

สิทธิมนุษยชน
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน Universal Declaration of Human Rights

                การสู้รบในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สองได้พรากชีวิตมนุษย์ไปไม่น้อยกว่าหกสิบล้านคน และยังส่งผลกระทบในด้านอื่นๆ ต่อความเป็นอยู่และศักดิ์ศรีของมนุษย์ ทั้งในรูปแบบของความอดอยาก การทรมานนักโทษ การใช้แรงงานเยี่ยงทาส และการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ดังนั้น หลังจากที่ได้มีการก่ อ่านเพิ่มเติม
                                                                                               

บทที่ 3

                                                                             


พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก
ความหมาย
       พลเมืองดี หมายถึง ประชาชนที่ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมมีความรับผิดชอบต่อ

หน้าที่ ของตนเอง รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมไม่ล อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 2

วัฒนธรรมไทย
 ความหมายวัฒนธรรมไทย

คำว่า วัฒนธรรม มาจากคำว่า “Culture” ในภาษาอังกฤษ ซึ้งคำนนี้มีรากศัพท์มาจาก “Cultura” ในภาษาละติน มีความหมายว่า การเพาะปลูกและบำรุงให้เจริญงอกงาม คำว่า วัฒนธรรม” ในภาษาไทย เป็นคำที่ได้มาจากการรวมคำ คำ เข้าด้วยกัน คือ คำว่า วัฒนะ” หมายถึง ความเจริญงอกงาม รุ่งเรือง และ คำว่าธรรม” หมายถึง ก อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 1

สังคมมนุษย์
ความหมายของสังคม
            สังคม  คือ กลุ่มคนตั้งแต่สองคนขึ้นไป  อาศัยอยู่ร่วมกันในดินแดนแห่งใดแห่งหนึ่ง  เพื่อช่วยเหลือพึ่งพากันและตอบสนองความต้องการพื้นฐานในการดำรงชีวิตซึ่งกันและกัน  กลุ่มคนเหล่านี้มีความสัมพันธ์ต่อกันทั้งโดยตรงและโดยอ้อม
สาเหตุที่มนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นสังคม

            มนุษย์ได้ชื่อว่าเป็น “สัตว์สังคม” เพราะมนุษย์ดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกั อ่านเพิ่มเติม